วันเสาร์ที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 16


สอบปลายภาค


-ข้อสอบปลายภาค
-ประเมินอาจารย์ผู้สอน





บันทึกครั้งที่ 15

ส่งงานการทำข้อสอบวิทยาศาสตร์

-อาจารย์ถาม และ อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคนิกวิทยาศาสตร์คู่กับ Power Point
-อาจารย์ให้นำข้อสอบกลับไปแก้ใหม่
บันทึกครั้งที่ 14


-อาจารย์ถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทความวิทยาศาสตร์
-มอบหมายงานข้อสอบเทคนิกวิทยาสาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



บันทึกครั้งที่13

ไม่ได้มาเรียน
บันทึกครั้งที่ 12

นำเสนอการสรุปผลการจัดกิจกรรมที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม



แบ่งกลุ่มทำ Mind map กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องหน่วยต่างๆ




บันทึกครั้งที่ 11



จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่โรงเรียนสาฅธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม



บันทึกครั้งที่ 10

นำเสนองานวิทยาศาสตร์ 2 ชิ้น



นำเสนอการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


บันทึกครั้งที่ 9

ไปศึกษาดูงานที่จังหวัดชลบุรี










บันทึกครั้งที่ 8

ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากมีการสอบกลางภาค
บันทึกครั้งที่ 7

ทำกิจกรรม บายสี


วันอังคารที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 6

- วันพุธที่ 28 กรกฎาคม 25531. ชมวีดีทัศน์เรื่อง "มหัศจรรย์ของน้ำ"
บันทึกครั้งที่ 5

- วันพุธที่ 21 กรกฎาคม 2553นำเสนอโครงการที่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว
บันทึกครั้งที่ 4

- วันพุธที่ 14 กรกฎาคม 25531. นำเสนอโครงการของแต่ละกลุ่ม,โครงการกระถางต้นไม้สุดประหยัดจากขวดพลาสติก,โครงการแม่ลูกช่วยกันระบายสีถุงผ้าลดโลกร้อน,โครงการประดิษฐ์ตะกร้าจากกล่องนม,โครงการกิจกรรมลดภาวะโลกร้อนของเด็กปฐมวัย,โครงการถังขยะอัจฉริยะ2. สั่งงาน ให้แต่ละคนหาชิ้นงาน "ศิลปะสอนวิทยาศาสตร์"3. นัดหมายการเรียนครั้งต่อไป เวลา 09.00 น.
บันทึกครั้งที่ 3

- วันพุธที่ 7 กรกฎาคม 2553
1. ตัวแทนแต่ละกลุ่ม นำเสนอกิจกรรมเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน
- ถุงผ้าลดโลกร้อน (4 ปี)
- ขยะรีไซเคิล (3 ปี)
- เรียงรูปภาพการตัดไม้ทำลายป่า (5 ปี)
- ชุดจากถุงขนม รองเท้าจากขวดน้ำ (4 ปี)
- ทำความสะอาด เก็บขยะ แยกขยะ (5 ปี)
2. จากนั้นอาจารย์สรุป อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับกิจกรรม3. อาจารย์ให้แต่ละกลุ่มจัดทำโครงการของกิจกรรมที่นำเสนอ

วันอาทิตย์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

เรียนครั้งที่2

อาจารย์ให้เข้ากลุ่มทำงาน

- ในการนำเอาวิทยาศาสตร์มาจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัย เป็นเรื่องที่สอดคล้องกับชีวิตประจำวันของเด็ก ทำให้เด็กได้เรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิ่งต่างๆ รอบตัว และตัวของเด็กเองด้วย ในการทำงานของสมองเมื่อมีการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ถ้าเด็กมีพื้นฐานความรู้เดิมอยู่แล้วบ้าง แล้วได้รับความรู้สิ่งใหม่ๆ เข้ามา ทำให้เด็กมีความรู้ใหม่ มีการปรับพฤติกรรม ปรับตัว จึงทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ เพื่อความอยู่รอดในสังคมต่อไป
เรียนครั้งที่1


- ทำกิจกรรมรับน้องของมหาวิทยาลัย